Get your Free Advertising...for Thai web sites only!

"***ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จย่อมอยู่ที่นั้น*** แนะนำได้ puepun@chaiyo.com "

	
	DOS (DISK OPERATING SYSTEM) คือ ระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PC ซึ่งเป็นตัวกลางในการรับคำสั่งจากซอฟต์แวร์อื่น ๆ แล้วมา
ควบคุมฮาร์ดแวร์ให้ทำงานตามที่ต้องการระบบปฏิบัติการที่แพร่หลายมากที่สุดบนไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับเครื่องยุค 8 บิต คือ CP/M (Control Program for
Microcomputer) ของบริษํท ดิจิตตอล รีเสรีชจนพัฒนาถึงเครื่องยุค 16 บิต ระบบปฏิบัติการของบริษัทอื่นเข้ามาแทนที่ คือ DOS ของบริษัทไมโครซอฟต์
ซึ่งเป็น DOS ของเครื่องไอบีเอ็มพีซี (IBM Personal Computer)

การจัดเก็บข้อมูลในดิกส์
	สามารถแบ่งเก็บเป็นกลุ่มที่มีลักษณะอย่างเดียวกันหรือเกี่ยวกับเรื่องเดียวกัน เรัยกว่าไฟล์เหมือนกับการที่เราจัดเอกสารเป็นแฟ้มนั่นเอง ข้อมูลที่เก็บ
ในไฟล์ออกเป็นส่วนย่อยที่มีขนาดคงที่เพื่อบันทึกลงในเนื้อที่แต่ละเซกเตอร์ของดิกส์ ซึ่งมีความจุข้อมูลที่เช่น 512 ไบต์ การบันทึกข้อมูลแต่ละเซกเตอร์ลงในดิกส์นี้
DOS  เป็นตัวจัดการไห้ว่าส่วนไหนจะบันทึกลงตรงเซคเตอร์ไหนทั้งนี้แล้วแต่ว่าจะที่ว่างตรงไหน ดังนั้นไฟล์หนึ่ง ๆ บนแผ่นดิกส์อาจจะถูกแบ่เป็นส่วนย่อย ๆ จำนวน
มากจะจัดกระจายกันออกไปไม่ต่อเนื่องกัน

ไมโครคอมพิวเตอร์
	หน่วยความจำ เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับไมโครโปรเซสเซอร์มาก เพราะเป็นทีเดียวเท่านั้นที่ซีพียู (Central Processing Unit) จะใช้เก็บข้อมูล หรือโปรแกรม
ชั่วคราวได้ การทีหน่วยความจำอย่างเพียงพอ ซึ่งการออกแบบ CPU แต่ละครั้งมีข้อจำกัด ซึ่งข้อจำกัดนั้นอยู่ที่ บัสแอดเดรสภ้า 1 บิต มีค่าได้ 0 กับ 1 สามารถอ้างข้อมูล
ในหน่วยความจำได้ 8 ไบต์ เพราะ 2 ยกกำลัง 3 ได้ 8
	บัส(Bus) หมายถึงถนนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ยิ่งกว้าง หรือมีช่องทางมากเท่าไรการส่งข้อมูลต่อครั้งจะยิ่งเร็วและมากขึ้น อธิบายทางกายภาพได้ว่า บัส คือ
กลุ่มของสายไฟหรือสายทองแดงบนเมนบอร์ด (Mainboard)

หน่วยความจำมี 2 ประเภท
	Ram (Random access Memory) คือหน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม และหน่วยความจำที่อนุญาตให้คอมพิวเตอร์อ่านหรือเขียนได้ และเป็นหน่วยความ
จำชั่วคราวโดย Ram แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ
	DRam (Dynamic RAM) หน่วยความจำที่มีปริมาณความจุต่อชิป หนึ่งตัวสูงประหยัดไฟ
	SRam (Static RAM) มีวิธีเก็บ 1,0 ที่แตกต่างไป โดยมันใช้การเปิดสวิตซ์ทรานซิสเตอร์แทน

	ROM (Read-only Memory) หรือหน่วยความจำอ่านอย่างเดียว เป็นหน่วยความจำที่ไม่สามารถเขียนใหม่หรืออัปเดตได้ซ้ำสอง

ส่วนประกอบของ DOS 
	1. เมื่อมีการรีเซตระบบ หรือเปิดเครื่องใหม่จะเริ่มต้นใหม่ OFFFFOH ซึ่งเป็นตำแหน่งของ รอมบูต สแตร็ปรูทีน (ROM Boot-strap routine)
	2. ROM - BIOS  (ROM Basic Input Output System )คือโปรแกรทที่คอยควบคุมอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ทั้งหมด
	3. Boot record คือโปรแกรมสั้น ๆ ที่ถูกโหลดหรืออ่านจากแผ่นดิกส์ในหน่วยความจำ
	4. IO.SYS เป็นโปรแกรมที่ทำนห้าที่ควบคู่ไปกับ Rom-BIOS  ในการควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต่อกับ PC
	5. MSDOS.SYS คือส่วนบรรจุรูทีนการบริการของเอ็มเอสดอสการบริการต่าง ๆ
	6. COMMAND.COM คือส่วนที่ผู้ใช้ทั้งหมดเกี่ยวกับข้องด้วย ซึ่งเราเรียกว่าตัวแปลคำสั่ง
	7. AUTOEXEC.BAT ประมวลผลอัตโนมัติ

คำสั่งภายใน (Internal command)
	คำสั่งภายใน เป็นส่วนโปรแกรมย่อยที่รวมกับ command.com เรียบร้อยแล้วเราสามารถเรียกใช้คำสั่งปฏิบัติงานได้ทันทีโดยไม่ต้องโหลด เช่น  CCS,DIR,COPY ฯลฯ

คำสั่งภายนอก (Ecternal command)
	คำสั่งภายนอก เปรียบเสมือนกับเป็นโปรแกรมประยุกต์แบบหนึ่ง ซึ่งเมื่อจะใช้งานจะต้องโหลดโปรแกรมจากดิสก์ก่อนหลังของคำสั่ภายนอกที่ใช้กันบ่อย เช่น FORMAT
DISKCOPY เป็นต้น

Batch file 
	เป็นไฟล์ที่เก็บคำสั่งต่าง ๆ เรียงกันเป็นบรรทัดเพื่อให้ DOS อ่านมาทำงานตามลำดับทีละคำสั่งตามลำดับก่อนหลังของคำสั่งต่าง ๆ ทำให้ประหยัดเวลาในการเขียนหลายคำสั่ง


การใช้โปรแกรม Debug 
	สามารถช่วยผู้ใช้ปรับปรุงข้อมูลในระดับ Byte ได้หากใช้เรียนรู้รหัส ASCII รีจิสเตอร์และโครงสร้างของแฟ้มที่จะปรับปรุงจนเข้าใจ
คำศัพท์ที่น่าสนใจ | ประวัติส่วนตัว | MY FRIND | ข้อสอบจับคู่ | ข้อสอบ choice | ข้อสอบถามตอบ | ข้อสอบถูกผิด | ข้อสอบตอบคำถามอย่างระเอียด |

YONOK COMPUTER

ËÃÃÉÒ.¤ÍÁ ÃÇÁ·Ø¡áË觷Õè¤Ø³ÍÂÒ¡ä» www.narak.com


"Plan your trip on the best travel site!"


CraZyHero StudiO, Copyright (C) 2001 Web site designed by Manop pearpun ID 4411005 S.2